การเมืองการปกครอง1. การเมืองการปกครอง 1.1 เลบานอนอยู่ภายใต้การปกครองขอ การแปล - การเมืองการปกครอง1. การเมืองการปกครอง 1.1 เลบานอนอยู่ภายใต้การปกครองขอ ไทย วิธีการพูด

การเมืองการปกครอง1. การเมืองการปกคร

การเมืองการปกครอง

1. การเมืองการปกครอง

1.1 เลบานอนอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเป็นเวลากว่า 25 ปี โดยได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2486 หลังจากนั้น เลบานอนได้พัฒนาประเทศและรักษาความเป็นศูนย์กลางด้านการค้า การเงิน การท่องเที่ยว การเกษตร ศิลปะและวัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้มาได้โดยตลอด

1.2 เลบานอนปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ ได้รับแต่งตั้งโดยรัฐสภาให้ดำรงตำแหน่งได้ 1 วาระเป็นเวลา 6 ปี และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลมาจากการเลือกตั้ง มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี รัฐสภาแห่งชาติ (National Assembly) มีสมาชิก 128 คน มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี มีรูปแบบการจัดสรรที่นั่งอย่างทั่วถึงระหว่างกลุ่มศาสนาต่างๆ คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีจำนวน 30 คน

1.3 เลบานอนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต (governorates) และ 25 อำเภอ ได้แก่ 1) Beirut Governorate ซึ่งครอบคลุมกรุงเบรุต 2) Nabatiyeh Governorate 3) Beqaa Governorate 4) North Governorate 5) Mount Lebanon Governorate 6) South Governorate โดย Beirut Governorate เป็นจุดศูนย์กลางความเจริญของประเทศ

1.4 โดยที่เลบานอนมีความแตกต่างด้านเชื้อชาติและศาสนาภายในค่อนข้างมาก ซึ่งเป็นจุดอ่อนและ เปราะบางต่อความมั่นคงภายในประเทศ รัฐธรรมนูญเลบานอนจึงประกาศให้เลบานอนเป็นรัฐอาหรับที่ เป็นกลางทางศาสนา และมีระบบการกระจายอำนาจทางการเมืองเรียกว่า “Confessionalism” โดยระบุให้ประธานาธิบดีเป็นชาวคริสต์นิกาย Maronite นายกรัฐมนตรีเป็นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่ และประธานรัฐสภาแห่งชาติเป็นชาวมุสลิมนิกายชีอะต์ ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ พล.อ.มิเชล สุไลมาน (Michel Suleiman)(ดำรงตำแหน่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือ นายซาอัด ฮารีรี (Saad Hariri) (ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552)

1.5 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองในเลบานอนเป็นเหตุให้ไม่สามารถมีการประชุมรัฐสภา เพื่อเลือกประธานาธิบดีคนใหม่มาแทน พล.อ.เอมิล ลาฮูด (Emile Lahoud) ซึ่งได้หมดวาระเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2550 จนกระทั่งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ (Arab League) เข้ามาเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย และสามารถบรรลุข้อตกลงระหว่างกลุ่มการเมืองเลบานอนได้ในเดือนพฤษภาคม 2551 ระหว่างการเจรจา ณ กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ โดยฝ่ายพันธมิตรตะวันตก (กลุ่ม March 14) นำโดยนายฮารีรี หัวหน้าพรรค Future Movement บุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีราฟิก ฮารีรี (Rafiq Hariri) ที่ถูกลอบสังหารในปี 2549 และฝ่ายพันธมิตรซีเรีย (กลุ่ม March 8) ตกลงเลือก พล.อ.สุไลมาน อดีตผู้บัญชาการทหารบก เป็นประธานาธิบดีคนใหม่ของเลบานอน

1.6 เลบานอนได้จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อเดือนมิถุนายน 2552 ซึ่งผลปรากฏว่า กลุ่ม March 14 นำโดยนายฮารีรี ได้คะแนนเสียงข้างมาก (68 จาก 128 ที่นั่งในสภาฯ) จึงได้รับเลือกจาก พล.อ. สุไลมาน ให้เป็นนายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่ โดยนายฮารีรีตัดสินใจที่จะพยายามจัดตั้งรัฐบาลสมานฉันท์อีกครั้ง เนื่องจากไม่ได้รับเสียงข้างมากอย่างเด็ดขาดจากการเลือกตั้ง จึงต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งกับกลุ่มการเมืองตรงข้าม แต่กลับไม่สามารถตกลงโควตาตำแหน่งรัฐมนตรีกับกลุ่ม March 8 (นำโดยกลุ่ม Hizbullah) ได้ โดยภายหลังความพยายามกว่า 2 เดือน นายฮารีรีตัดสินใจเสนอชื่อคณะรัฐมนตรีให้ พล.อ.สุไลมานพิจารณา (เป็นรัฐมนตรีจากกลุ่ม March 14 ของนายฮารีรี 15 คน จาก กลุ่ม March 8 10 คน และอีก 5 คน พล.อ.สุไลมานจะเป็นผู้คัดเลือก) แต่ยังคงได้รับการต่อต้านจากนายฮัสซัน นาซาราลลาห์ (Hassan Nasrallah) ผู้นำกลุ่ม Hizbullah นายฮารีรีจึงได้ตัดสินใจยื่นหนังสือลาออก จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ พล.อ.สุไลมาน เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 แต่ได้รับเลือกให้กลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เพื่อพยายามจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้ง เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552

1.7 ความพยายามในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งใหม่ของนายฮารีรีประสบผลสำเร็จเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2552 เมื่อรัฐสภาเลบานอนได้มีมติรับรองรายชื่อคณะรัฐมนตรีที่นายฮารีรีเสนอ ภายหลังการเจรจาที่มีทั้งซาอุดีอาระเบีย ซีเรีย อิหร่าน กาตาร์และสหรัฐฯ เป็นผู้ไกล่เกลี่ย โดยรัฐบาลชุดนี้มีสูตร 15-10-5 โดยกลุ่ม March 14 ของนายฮารีรีได้ตำแหน่ง 15 ตำแหน่งในคณะรัฐมนตรี ขณะที่ 10 ตำแหน่งมาจากกลุ่ม March 8 ซึ่งรวมกลุ่ม Hizbullah ด้วย และที่เหลืออีก 5 ตำแหน่งมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดี อย่างไรก็ตาม รัฐบาลชุดนี้ถือว่าไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปมากจากรัฐบาลชุดที่ผ่านมา ทั้งในโครงสร้างอำนาจและตัวบุคคล รัฐบาลจะยังคงไม่มีเสถียรภาพและประเด็นอนาคตของกองกำลัง Hizbullah ยังคงเป็นประเด็นที่สร้างความแตกแยกระหว่างกลุ่มการเมืองในเลบานอน

2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2.1 ความสัมพันธ์กับซีเรีย ซีเรียและเลบานอนมีความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งจากประวัติศาสตร์อันยาวนานภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส ทำให้ซีเรียเข้ามามีอิทธิพลอย่างมากต่อเลบานอนทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชนชั้นสูงของเลบานอนซึ่งมีอำนาจปกครองประเทศ ซีเรียเคยส่งกำลังทหารเข้ามาในเลบานอนเพื่อช่วยสู้รบในเหตุสงครามกลางเมืองและสงครามกับอิสราเอล จนกระทั่งเมื่อปี 2549 นายราฟิก ฮารีรี อดีตนายกรัฐมนตรีเลบานอนถูกลอบสังหาร และซีเรียถูกมองว่าเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลัง รัฐบาลเลบานอนจึงขับกองกำลังของซีเรียออกจากประเทศ และระงับความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกัน นับจากนั้น การเมืองภายในเลบานอนจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายที่สนับสนุนอิทธิพลของซีเรียและฝ่ายที่ต่อต้าน ล่าสุดภายหลังที่ พล.อ.สุไลมาน เข้ามารับตำแหน่งประธานาธิบดี ทั้งสองประเทศจึงได้กลับมาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกันอีกครั้ง
2.2 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม Hizbullah และอิสราเอล Hizbullah ได้โจมตีอิสราเอลจากทางภาคใต้ของเลบานอนมาตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมา นับตั้งแต่อิสราเอลได้เข้ายึดครองพื้นที่ดังกล่าวเพื่อหยุดยั้งการโจมตีของกลุ่มปลดปล่อยปาเลสไตน์ (Palestine Liberation Organisation - PLO) ซึ่งใช้พื้นที่ของเลบานอนเป็นฐานที่ตั้งโจมตีอิสราเอล ระหว่างที่เลบานอนกำลังเผชิญกับสงครามกลางเมืองในช่วงปี 2521 แม้อิสราเอลจะถอนกำลังออกจากดินแดนดังกล่าวแล้วเมื่อปี 2543 กลุ่ม Hizbullah ในเลบานอน ก็ยังคงปฏิบัติการโจมตีและลักพาตัวทหารอิสราเอล โดยมีเป้าหมายให้อิสราเอลปล่อยตัวนักโทษชาวอาหรับที่ถูกอิสราเอลจับกุมไปเป็นจำนวนมาก โดยในวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 กลุ่ม Hizbullah ได้จับตัวทหารอิสราเอลไป 2 นาย (นาย Ehud Goldwasser และนาย Eldad Regev) อิส
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การเมืองการปกครอง1. การเมืองการปกครอง 1.1 เลบานอนอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเป็นเวลากว่า 25 ปีโดยได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2486 หลังจากนั้นเลบานอนได้พัฒนาประเทศและรักษาความเป็นศูนย์กลางด้านการค้าการเงินการท่องเที่ยวการเกษตรศิลปะและวัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้มาได้โดยตลอด เลบานอนปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐได้รับแต่งตั้งโดยรัฐสภาให้ดำรงตำแหน่งได้ 1 วาระเป็นเวลา 1.2 6 4 มีวาระดำรงตำแหน่งรัฐสภาแห่งชาติปีและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลมาจากการเลือกตั้งปี (รัฐสภา) มีสมาชิก 128 มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 มีรูปแบบการจัดสรรที่นั่งอย่างทั่วถึงระหว่างกลุ่มศาสนาต่าง ๆ คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีจำนวนปีคน 30 คน เลบานอนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต 1.3 (29 governorates) 25 ตำบลและได้แก่ 1) เบรุตรัฐซึ่งครอบคลุมกรุงเบรุต Nabatiyeh 2) รัฐ 3) Beqaa รัฐ 4) เหนือรัฐภูเขาเลบานอนรัฐ 5) 6) ใต้รัฐโดยรัฐเบรุตเป็นจุดศูนย์กลางความเจริญของประเทศ โดยที่เลบานอนมีความแตกต่างด้านเชื้อชาติและศาสนาภายในค่อนข้างมากซึ่งเป็นจุดอ่อนและเปราะบางต่อความมั่นคงภายในประเทศรัฐธรรมนูญเลบานอนจึงประกาศให้เลบานอนเป็นรัฐอาหรับที่เป็นกลางทางศาสนา 1.4 และมีระบบการกระจายอำนาจทางการเมืองเรียกว่า "Confessionalism" โดยระบุให้ประธานาธิบดีเป็นชาวคริสต์นิกายนายกรัฐมนตรีเป็นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่และประธานรัฐสภาแห่งชาติเป็นชาวมุสลิมนิกายชีอะต์ประธานาธิบดีคนปัจจุบันได้แก่พลคาทอลิก. อ. มิเชลสุไลมาน (Michel สุลัยมาน) (ดำรงตำแหน่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายซาอัดฮารีรี (ฟอร์ตแมกเมอร์เรย์) (อำลาดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 17 2552) 1.5 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองในเลบานอนเป็นเหตุให้ไม่สามารถมีการประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกประธานาธิบดีคนใหม่มาแทนพล. เอมิลลาฮูด (Emile Lahoud) อ. 23 พฤศจิกายน 2550 ซึ่งได้หมดวาระเมื่อวันที่จนกระทั่งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ (สันนิบาตอาหรับ) เข้ามาเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยและสามารถบรรลุข้อตกลงระหว่างกลุ่มการเมืองเลบานอนได้ในเดือนพฤษภาคมระหว่างการเจรจากรุงโดฮาประเทศกาตาร์โดยฝ่ายพันธมิตรตะวันตกณ 2551 (กลุ่ม 14 มีนาคม) หัวหน้าพรรคบุตรชายของอดีตนายกรัฐมนตรีราฟิกฮารีรีนำโดยนายฮารีรีการเคลื่อนไหวในอนาคต (Rafiq ฟอร์ตแมกเมอร์เรย์) 2549 และที่ถูกลอบสังหารในปีฝ่ายพันธมิตรซีเรีย (กลุ่ม 8 มีนาคม) ตกลงเลือกอ. สุไลมานอดีตผู้บัญชาการทหารบกพล. เป็นประธานาธิบดีคนใหม่ของเลบานอน กลุ่มซึ่งผลปรากฏว่าเลบานอนได้จัดการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อเดือนมิถุนายน 2552 1.6 มีนาคม 14 นำโดยนายฮารีรีได้คะแนนเสียงข้างมาก (68 128 จากที่นั่งในสภาฯ) จึงได้รับเลือกจากอ. พล สุไลมานให้เป็นนายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลชุดใหม่โดยนายฮารีรีตัดสินใจที่จะพยายามจัดตั้งรัฐบาลสมานฉันท์อีกครั้งเนื่องจากไม่ได้รับเสียงข้างมากอย่างเด็ดขาดจากการเลือกตั้งจึงต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาความขัดแย้งกับกลุ่มการเมืองตรงข้ามแต่กลับไม่สามารถตกลงโควตาตำแหน่งรัฐมนตรีกับกลุ่มมีนาคม 8 (นำโดยกลุ่ม Hizballah) 2 นายฮารีรีตัดสินใจเสนอชื่อคณะรัฐมนตรีให้พลโดยภายหลังความพยายามกว่าได้เดือนนี้อ. สุไลมานพิจารณา (เป็นรัฐมนตรีจากกลุ่ม 14 15 มีนาคมของนายฮารีรีจากกลุ่มคน 8 มีนาคม 10 และอีก 5 พลคนคน. อ. สุไลมานจะเป็นผู้คัดเลือก) แต่ยังคงได้รับการต่อต้านจากนายฮัสซันนาซาราลลาห์ (Hassan Nasrallah) Hizballah นายฮารีรีจึงได้ตัดสินใจยื่นหนังสือลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อพลผู้นำกลุ่ม. สุไลมานเมื่อวันที่อำลาอ. 10 แต่ได้รับเลือกให้กลับมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเพื่อพยายามจัดตั้งรัฐบาลอีกครั้งเมื่อวันที่ 2552 อำลา 2552 17 1.7 ความพยายามในการจัดตั้งรัฐบาลครั้งใหม่ของนายฮารีรีประสบผลสำเร็จเมื่อวันที่ธันวาคมเมื่อรัฐสภาเลบานอนได้มีมติรับรองรายชื่อคณะรัฐมนตรีที่นายฮารีรีเสนอภายหลังการเจรจาที่มีทั้งซาอุดีอาระเบีย 2552 ซีเรีย 10 อิหร่านกาตาร์และสหรัฐฯ เป็นผู้ไกล่เกลี่ยโดยรัฐบาลชุดนี้มีสูตร 15 10-5-14 ของนายฮารีรีได้ตำแหน่ง 15 ตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีโดยกลุ่มมีนาคมขณะที่ 10 ตำแหน่งมาจากกลุ่มมีนาคมซึ่งรวมกลุ่มด้วยและที่เหลืออีก 8 ตำแหน่งมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีอย่างไรก็ตาม Hizballah 5 รัฐบาลชุดนี้ถือว่าไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปมากจากรัฐบาลชุดที่ผ่านมาทั้งในโครงสร้างอำนาจและตัวบุคคลรัฐบาลจะยังคงไม่มีเสถียรภาพและประเด็นอนาคตของกองกำลังยังคงเป็นประเด็นที่สร้างความแตกแยกระหว่างกลุ่มการเมืองในเลบานอน Hizballah2. ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2.1 ความสัมพันธ์กับซีเรียซีเรียและเลบานอนมีความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งจากประวัติศาสตร์อันยาวนานภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสทำให้ซีเรียเข้ามามีอิทธิพลอย่างมากต่อเลบานอนทั้งในด้านการเมืองและเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มชนชั้นสูงของเลบานอนซึ่งมีอำนาจปกครองประเทศซีเรียเคยส่งกำลังทหารเข้ามาในเลบานอนเพื่อช่วยสู้รบในเหตุสงครามกลางเมืองและสงครามกับอิสราเอลจนกระทั่งเมื่อปี 2549 นายราฟิกฮารีรีอดีตนายกรัฐมนตรีเลบานอนถูกลอบสังหารและซีเรียถูกมองว่าเป็นผู้ที่อยู่เบื้องหลังรัฐบาลเลบานอนจึงขับกองกำลังของซีเรียออกจากประเทศและระงับความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างกันนับจากนั้นการเมืองภายในเลบานอนจึงได้ถูกแบ่งออกเป็นสองฝ่ายคือฝ่ายที่สนับสนุนอิทธิพลของซีเรียและฝ่ายที่ต่อต้านล่าสุดภายหลังที่พล.อ.สุไลมานเข้ามารับตำแหน่งประธานาธิบดีทั้งสองประเทศจึงได้กลับมาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกันอีกครั้ง 2.2 ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มและอิสราเอลได้โจมตีอิสราเอลจากทางภาคใต้ของเลบานอนมาตลอดหลายสิบปีที่ผ่านมานับตั้งแต่อิสราเอลได้เข้ายึดครองพื้นที่ดังกล่าวเพื่อหยุดยั้งการโจมตีของกลุ่มปลดปล่อยปาเลสไตน์ซึ่งใช้พ Hizballah Hizballah (ปาเลสไตน์ปลดองค์กร-PLO)ื้นที่ของเลบานอนเป็นฐานที่ตั้งโจมตีอิสราเอลระหว่างที่เลบานอนกำลังเผชิญกับสงครามกลางเมืองในช่วงปีแม้อิสราเอลจะถอนกำลังออกจากดินแดนดังกล่าวแล้วเมื่อปีกลุ่มในเลบานอน 2521 2543 Hizballah โดยมีเป้าหมายให้อิสราเอลปล่อยตัวนักโทษชาวอาหรับที่ถูกอิสราเอลจับกุมไปเป็นจำนวนมากก็ยังคงปฏิบัติการโจมตีและลักพาตัวทหารอิสราเอลโดยในวันที่กรกฎาคมกลุ่มได้จับตัวทหารอิสราเอลไป 12 2549 Hizballah นาย 2 (นายเอฮูดแทงเอก Goldwasser และนาย Eldad Regev) อิส
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การเมืองการปกครอง

1 การเมืองการปกครอง

1.1 25 ปีโดยได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2486 หลังจากนั้น การเงินการท่องเที่ยวการเกษตร

มีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ 1 วาระเป็นเวลา 6 ปี มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปีรัฐสภาแห่งชาติ (สมัชชาแห่งชาติ) มีสมาชิก 128 คนมีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี 30 คน

1.3 เลบานอนแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 6 เขต (เขต) และ 25 อำเภอ ได้แก่ 1) เบรุตเรทซึ่งครอบคลุมกรุงเบรุต 2) Nabatiyeh เรท 3) Beqaa เรท 4) นอร์ทเรท 5) ภูเขาเลบานอนเรท 6) เซาท์เรทโดยเบรุต เรท

เป็นจุดอ่อนซึ่งและเปราะบางต่อความสามารถ มั่นคงภายในออกประเทศ เป็นกลางทางศาสนา "Confessionalism" Maronite ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน ได้แก่ พล. อ. มิเชลสุไลมาน (มิเชลสุไลมาน) (ดำรงตำแหน่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551) ส่วนนายกรัฐมนตรีของคุณคนปัจจุบันคือที่คุณนายซาอัด ฮารีรี (ซาด Hariri) (ดำรงตำแหน่งเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552)

1.5 เพื่อเลือกประธานาธิบดีคนใหม่มาแทนพล. อ. เอมิลลาฮูด (Emile Lahoud) ซึ่งได้หมดวาระเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2550 จนกระทั่งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ (อาหรับลีก) เข้ามาเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย 2551 ระหว่างหัวเรื่อง: การเจรจา ณ กรุงโดฮาออกประเทศ กาคุณตาร์โดยฝ่ายพันธมิตรตะวันตก (กลุ่ม 14 มีนาคม) นำโดยนายฮารีรีหัวหน้าพรรคในอนาคตเคลื่อนไหวบุตรคุณชายของในปัจจุบันอดีตนายกรัฐมนตรีราฟิกฮา รีรี (Rafiq Hariri) ที่ถูกลอบสังหารใน ปี 2549 และฝ่ายพันธมิตรซีเรีย (กลุ่ม 8 มีนาคม) ตกลงเลือกพล. อ. ไลมาผู้แต่ง: สุหนังสือนในปัจจุบันอดีตคุณผู้บัญชาการคุณทหาร บกเป็นประธานาธิบดีของคุณคนใหม่ของเลบานอน

1.6 2552 ซึ่งผลปรากฏว่ากลุ่ม 14 มีนาคมโดยที่คุณนายนำฮารีรีได้คะแนนเสียง ข้างมาก (68 จาก 128 ที่นั่งในสภาฯ ) จึงได้รับเลือกจาก พล.อ. สุไลมาน 8 มีนาคม (นำโดยกลุ่ม Hizbullah) ได้โดยภายหลังความพยายามกว่า 2 เดือน พล. อ. สุไลมานพิจารณา (เป็นรัฐมนตรีจากกลุ่ม 14 มีนาคมของนายฮารีรี 15 คนจากกลุ่ม 8 มีนาคม 10 คนและอีก 5 คนพล. อ. สุไลมานจะเป็นผู้คัดเลือก) นาซาราลลาห์ (ฮัสซัน Nasrallah) ผู้นำกลุ่ม Hizbullah จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อพล. อ. สุไลมานเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2552 พยายามจัดตั้งเพื่อรัฐบาลอีกครั้งเมื่อการธนาคารวัน ที่ 17 กันยายน 2552

1.7 10 ธันวาคม 2552 กาอิหร่านซีเรียคุณตาร์และสหรัฐฯเป็น คุณผู้ไกล่เกลี่ยโดยรัฐบาลชุดนี้มีสูตร 15-10-5 โดยกลุ่ม 14 มีนาคมของนายฮารีรีได้ตำแหน่ง 15 ตำแหน่งในคณะรัฐมนตรีขณะที่ 10 ตำแหน่งมาจากกลุ่ม 8 มีนาคมซึ่งรวมกลุ่ม Hizbullah ด้วย และที่เหลืออีก 5 อย่างไรก็ตาม ทั้งในโครงสร้างอำนาจและตัวบุคคล Hizbullah

ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2.1 ความสัมพันธ์กับซีเรีย จนกระทั่งเมื่อปี 2549 นายราฟิกฮารีรี นับจากนั้น คือ ล่าสุดภายหลังที่พล. อ. ไลมาผู้แต่ง: สุหนังสือนเข้ามารับตำแหน่งสมัคร ประธานาธิบดี
ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มและอิสราเอล Hizbullah Hizbullah (องค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ - PLO) 2521 2543 กลุ่ม Hizbullah ในเลบานอน โดยในวันที่ 12 กรกฎาคม 2549 กลุ่ม Hizbullah ได้จับตัวทหารอิสราเอลไป 2 นาย (นายเอฮุด Goldwasser และนาย Eldad จีฟ) อิส
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การเมืองการปกครอง1 . การเมืองการปกครอง1.1 เลบานอนอยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสเป็นเวลากว่า 25 . 22 โดยได้รับเอกราชเมื่อวันที่พฤษภาคม 2486 หลังจากนั้นเลบานอนได้พัฒนาประเทศและรักษาความเป็นศูนย์กลางด้านการค้าการเงินการท่องเที่ยวการเกษตรศิลปะและวัฒนธรรมของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้มาได้โดยตลอด1.2 เลบานอนปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภามีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐได้รับแต่งตั้งโดยรัฐสภาให้ดำรงตำแหน่งได้ 1 วาระเป็นเวลา 6 . และนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลมาจากการเลือกตั้งมีวาระดำรงตำแหน่ง 4 . รัฐสภาแห่งชาติ ( สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ) มีสมาชิก 128 คนมีวาระดำรงตำแหน่ ง 4 มีรูปแบบการจัดสรรที่นั่งอย่างทั่วถึงระหว่างกลุ่มศาสนาต่างๆคณะรัฐมนตรีประกอบด้วยรัฐมนตรีจำนวน 30 คน .1.3 เลบานอนแบ่งเขตการปกครองออกเป็นเขต ( เขต 6 ) และ 25 อำเภอได้แก่ 1 ) เบรุต Al ซึ่งครอบคลุมกรุงเบรุต 2 ) 3 ) 4 nabatiyeh Al Al Al นอร์ทเบกา ) ( 5 ) ( 6 ) ภูเขาเลบานอน Al Al โดยเบรุต Al เป็นจุดศูนย์กลางความเจริญของประเทศใต้1.4 โดยที่เลบานอนมีความแตกต่างด้านเชื้อชาติและศาสนาภายในค่อนข้างมากซึ่งเป็นจุดอ่อนและเปราะบางต่อความมั่นคงภายในประเทศรัฐธรรมนูญเลบานอนจึงประกาศให้เลบานอนเป็นรัฐอาหรับที่เป็นกลางทางศาสนาและมีระบบการกระจายอำนาจทางการเมืองเรียกว่า " confessionalism " โดยระบุให้ประธาน าธิบดีเป็นชาวคริสต์นิกายมาโรไนต์นายกรัฐมนตรีเป็นชาวมุสลิมนิกายสุหนี่และประธานรัฐสภาแห่งชาติเป็นชาวมุสลิมนิกายชีอะต์ประธานาธิบดีคนปัจจุบันได้แก่พลอากาศเอก มิเชลสุไลมาน ( Michel Suleiman ) ( ดำรงตำแหน่งเมื่อเดือนพฤษภาคม 2551 ) ส่วนนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันคือนายซาอัดฮารีรี ( ยาลดความดัน ( ดำรงตำแห ) น่งเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552 )1.5 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมืองในเลบานอนเป็นเหตุให้ไม่สามารถมีการประชุมรัฐสภาเพื่อเลือกประธานาธิบดีคนใหม่มาแทนพลอากาศเอก เอมิลลาฮูด ( อีมิล วาน ลา ้ด ) ซึ่งได้หมดวาระเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2550 จนกระทั่งกลุ่มสันนิบาตอาหรับ ( สันนิบาตอาหรับ ) เข้ามาเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ยและสามารถบรรลุข้อตกล งระหว่างกลุ่มการเมืองเลบานอนได้ในเดือนพฤษภาคม 2551 ระหว่างการเจรจาณกรุงโดฮาประเทศกาตาร์โดยฝ่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: